หลักสูตร : การจัดการสารเคมี สารเคมีอันตราย และวัตถุอันตรายให้สอดคล้องกับกฎหมายและปลอดภัย
Hazard Chemical and Hazardous Substance Management in compliance with Legal and Safety Requirements สิ่งที่ผู้เข้าอบรมจะได้รับ
· กฎหมายสารเคมีและวัตถุอันตราย
· วิธีการตรวจสอบว่าสารเคมีชนิดใดเป็นสารเคมีอันตราย หรือวัตถุอันตราย
· สารเคมีอันตราย ต่างจาก วัตถุอันตรายอย่างไร
· การจัดเก็บวัตถุอันตราย / สารเคมี
· เกณฑ์การจัดให้มีบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัย การเก็บรักษาวัตถุอันตราย
· การจัดให้มีบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัย การเก็บรักษาวัตถุอันตราย
· การดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตราย
· การกำหนดโทษสำหรับวัตถุอันตรายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
· การขนส่งวัตถุอันตราย
แจกฟรี
CD รวบรวมกฎหมายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสารเคมีอันตรายและวัตถุอันตราย ตัวอย่างเอกสารข้อมูลความปลอดภัย Safety Date Sheet 16 ข้อ ตัวอย่าง ทะเบียนรายการสารเคมีและวัตถุอันตราย
กลุ่มเป้าหมาย
เจ้าหน้าที่สิ่งแวดล้อม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย หัวหน้างาน ผู้ดำเนินการใช้และการจัดเก็บ เจ้าหน้าที่ สโตร์แวร์เฮ้าส์
ระยะเวลาอบรม หลักสูตร 6 ชั่วโมง 09.00-16.00 น.
Course outline
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน/ รับเอกสาร
09.00 - 10.00 น. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตราย
วิธีการตรวจสอบว่าสารเคมีชนิดใดเป็นสารเคมีอันตราย
ความปลอดภัยเกี่ยวกับสารเคมี
1. ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย (สอ.1)
2. ฉลากและป้าย
1) รายละเอียดของฉลาก
2) ป้ายห้าม ป้ายเตือน ป้ายให้ปฏิบัติ
3. การคุ้มครองความปลอดภัย
1) สภาพและคุณลักษณะบริเวณที่ลูกจ้างทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย เช่น ระบบระบายอากาศ เป็นต้น
2) สถานที่และอุปกรณ์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัย เช่น ที่ชำระล้างสารเคมีอันตราย และอุปกรณ์กับเพลิง เป็นต้น
3) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
10.00 - 10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.15 - 12.00 น. 4. การเก็บรักษา การบรรจุ และการถ่ายเทสารเคมีอันตราย
1) สภาพและคุณลักษณะของสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย
2) มาตรการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากสารเคมีอันตรายในบริเวณสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย
3) การจัดเก็บสารเคมีอันตราย
4) การดำเนินการเกี่ยวกับหีบห่อ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตราย
5) การถ่ายเทสารเคมีอันตรายไปยังภาชนะหรือเครื่องมืออื่น
5. การขนถ่าย การเคลื่อนย้าย หรือการขนส่ง
1) การปฏิบัติเกี่ยวกับการขนถ่าย เคลื่อนย้าย หรือขนส่งสารเคมีอันตราย
2) การฝึกอบรมและฝึกซ้อมวิธีการแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินแก่ลูกจ้าง
6. การจัดการและการกำจัด
1) การทำความสะอาดหรือกำจัดสารเคมีอันตรายที่หกรั่วไหลหรือไม่ใช้แล้ว
2) การจัดการหีบห่อ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตรายที่ปนเปื้อน และไม่ต้องการใช้แล้ว
7. การควบคุมระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย
1) การป้องกันและควบคุมระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานที่ทำงานและสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย
2) การตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานที่ทำงานและสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย และการส่งรายงานผลการตรวจวัด
8. การดูแลสุขภาพอนามัย
1) การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพของลูกจ้าง ที่ปฏิบัติงานกับสารเคมีอันตราย
9. การควบคุมและปฏิบัติการกรณีมีเหตุฉุกเฉิน
1) การประเมินความเสี่ยงในการก่อให้เกิดอันตรายและจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยง
2) แผนปฏิบัติการกรณีมีเหตุฉุกเฉิน
3) การฝึกอบรมลูกจ้างที่มีหน้าที่ควบคุมและระงับเหตุอันตราย กรณีสารเคมีหกรั่วไหล
10. การตรวจสุขภาพลูกจ้างตามปัจจัยเสี่ยงด้านสารเคมีอันตราย
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.30 น. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวัตถุอันตราย
วิธีการตรวจสอบว่าสารเคมีชนิดใดเป็นวัตถุอันตราย
ชนิดของวัตถุอันตราย
วัตถุอันตรายภายใต้กรมโรงงานอุตสาหกรรม
วัตถุอันตรายภายใต้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
วัตถุอันตรายภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วัตถุอันตรายภายใต้กรมวิชาการเกษตร
วัตถุอันตรายภายใต้กรมปศุสัตว์
วัตถุอันตรายภายใต้กรมประมง
การจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตรายอย่างปลอดภัย
เกณฑ์การจัดให้มีบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษา
14.30 - 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
14.45 - 15.30 น. การดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายตามที่กฎหมายกำหนด กรณีสั่งซื้อในประเทศ กรณีนำเข้าจากต่างประเทศ และกรณีนำผ่านจากต่างประเทศ
การดำเนินการ/ส่งรายงาน บฉ. 1, บฉ. 2, บฉ. 3, บฉ.4, บฉ.5 บฉ.6 วอ./อก.7, วอ./อก.20
หลักเกณฑ์และระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย ตามระบบ GHS (กายภาพ สุขภาพและสิ่งแวดล้อม)
การขนส่งวัตถุอันตราย และระบบ GPS
15.30 - 16.00 น. สรุปประเด็นที่สำคัญทั้งหมด ( พร้อมถาม-ตอบ )
16.00 - 16.30 น. Q&A
............................................................................................................................................................................
อัตราค่าบริการ :
( ) สมาชิก ราคา 3,300 บาท VAT 7% = 231 บาท หัก ณ ที่จ่าย 3% = 99 บาท ชําระทั้งสิ้น 3,432 บาท
( ) ราคาปกติ ราคา 3,800 บาท VAT 7% = 266 บาท หัก ณ ที่จ่าย 3% = 114 บาท ชำระทั้งสิ้น 3,952 บาท
· กรุณาชำระค่าลงทะเบียนก่อนการเข้าฝึกอบรม ล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน กรณีไม่มีใบหัก ณ. ที่จ่าย ขอสงวนสิทธิ์ชำระเต็มจำนวน ค่าอบรม+VAT 7%
· สั่งจ่ายในนามบริษัท เอไอเอ็ม คอนซัลแตนท์ จำกัด เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 0105547166927 บัญชีออมทรัพย์ ธ.ไทยพาณิชย์ สาขาเพชรเกษม ซอย 114
ชื่อบ/ช : บริษัท เอไอเอ็ม คอนซัลแตนท์ จำกัด เลขที่ 401-239834-6 และส่งสำเนาใบสั่งจ่ายเงิน (Pay slip) มาที่ marketing@aimconsultant.com ที่อยู่ตามใบกำกับภาษี 324/11 ถนนมาเจริญ แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กทม. 10160
** กรณีที่จะยกเลิกอบรม กรุณาแจ้งให้ทางเจ้าหน้าที่ของบริษัทเอไอเอ็ม คอนซัลแตนท์ จำกัด ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน โดยแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษร หากท่านไม่ได้แจ้งยกเลิกให้ทราบล่วงหน้า ทางบริษัท เอไอเอ็ม คอนซัลแตนท์ จำกัด ขอสงวนสิทธิ์ในการรับชำระค่าบริการในการฝึกอบรม 100% ต่อ 1 ท่านจากราคาเต็ม
สมัครอบรม คลิก |